เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษาที่ 2/2557 หน่วย : "น้ำหยดสุดท้าย"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :

นักเรียนเข้าใจความสำคัญและเห็นคุณค่าของน้ำ ที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น อีกทั้งยังสามารถใช้น้ำให้เกิดประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ตลอดจนมีจิตสำนึกที่ดี และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำได้

Assessment

แนวทางการประเมินโครงงาน  Problem Based   Learning
 ปีการศึกษา 2557  โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

 คำชี้แจง
เกณฑ์การประเมินนี้ไม่ใช่เกณฑ์การประเมินที่ดีที่สุด แต่เป็นเพียงแนวทางปฏิบัติที่ทางโรงเรียน

ลำปลายมาศพัฒนาใช้ประเมินเพื่อการตัดสินเท่านั้น  การประเมินที่แท้จริงต้องเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นไปพร้อมกับการเรียนการสอน  ซึ่งผู้เรียน และผู้เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เท่านั้นที่จะเข้าใจและสามารถประเมินได้อย่างแท้จริง

เกณฑ์ประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย
พัฒนาการ
ระดับคุณภาพ
4
3
2
1
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
1. สามารถใช้อุปกรณ์  เช่น  กรรไกรในการตัดกระดาษได้ตามแบบ  หรือตามแนวเส้นที่กำหนด ได้ดีมาก
2.  ใช้เชือกร้อยวัสดุตามแบบได้อย่างถูกต้อง
3.  ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองได้เป็นอย่างดี  เช่น  การติดกระดุมเสื้อ  การสวมถุงเท้า  ร้อยเชือกรองเท้า
4.  เขียนตามแบบได้ดีมากเช่น  วาดภาพระบายสีเขียนคำ   วาดภาพรูปร่างรูปทรงต่างๆ
1. สามารถใช้อุปกรณ์  เช่น  กรรไกรในการตัดกระดาษได้ตามแบบ  หรือตามแนวเส้นที่กำหนด ได้ดี
2.  ใช้เชือกร้อยวัสดุตามแบบได้อาจจะสลับเล็กน้อย
3.  ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองได้แต่อาจจะช้า  เช่น  การติดกระดุมเสื้อ  การสวมถุงเท้า  ร้อยเชือกรองเท้า
4.  เขียนตามแบบได้ดีเช่น  วาดภาพระบายสีเขียนคำ   วาดภาพรูปร่างรูปทรงต่างๆ
1. สามารถใช้อุปกรณ์  เช่น  กรรไกรในการตัดกระดาษได้ตามแบบ  หรือตามแนวเส้นที่กำหนดได้เล็กน้อย
2.  ใช้เชือกร้อยวัสดุได้แต่ไม่ค่อยเหมือนแบบเท่าที่ควร
3.  ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้บางอย่าง ส่วนใหญ่ครูต้องคอยกระตุ้น  เช่น  การติดกระดุมเสื้อ  การสวมถุงเท้า  ร้อยเชือกรองเท้า
4.  เขียนตามแบบบ้างเช่น  วาดภาพระบายสีเขียนคำ   วาดภาพรูปร่างรูปทรงต่างๆ
1. สามารถใช้อุปกรณ์  เช่น  กรรไกรในการตัดกระดาษได้ตามแบบ  หรือตามแนวเส้นที่กำหนดไม่ค่อยได้  ส่วนมากจะขาด
2.  ใช้เชือกร้อยวัสดุได้แต่ไม่เหมือนแบบเลย
3.  ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้แต่ต้องมีครูอยู่ด้วย  แ ละค่อนข้างช้า  เช่น  การติดกระดุมเสื้อ  การสวมถุงเท้า  ร้อยเชือกรองเท้า
4.  เขียนตามแบบไม่ค่อยได้เช่น  วาดภาพระบายสีเขียนคำ   วาดภาพรูปร่างรูปทรงต่างๆ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
1. ใช้มือทั้งสองข้างได้อย่างต่อเนื่องและคล่องแคล้ว  เช่น  การรับ-การส่งลูกบอล
2.  ใช้เท้าทั้งสองข้างได้อย่างต่อเนื่องและคล่องแคล้ว  เช่น  การวิ่ง  การหยุด  การเดิน  การกระโดดขาเดียว  การกระโดดสองขา  การขึ้นลงบันได  เป็นต้น
1. ใช้มือทั้งสองข้างได้อย่างคล่องแคล้ว  แต่ได้ไม่ต่อเนื่อง  เช่น  การรับ-การส่งลูกบอล
2.  ใช้เท้าทั้งสองข้างได้อย่างคล่องแคล้ว  แต่ไม่ค่อยต่อเนื่อง  เช่น  การวิ่ง  การหยุด  การเดิน  การกระโดดขาเดียว  การกระโดดสองขา  การขึ้นลงบันได  เป็นต้น
1. ใช้มือทั้งสองข้างได้บ้าง  แต่ไม่คล่องแคล้ว   เช่น  การรับ-การส่งลูกบอล
2.  ใช้เท้าทั้งสองข้างได้บ้างแต่ไม่ค่อยคล่องแคล้วเท่าที่ควร  เช่น  การวิ่ง  การหยุด  การเดิน  การกระโดดขาเดียว  การกระโดดสองขา  การขึ้นลงบันได  เป็นต้น
1. ใช้มือทั้งสองข้างไม่ค่อยได้  เช่น  การรับ-การส่งลูกบอล
2.  ใช้เท้าทั้งสองข้างได้ไม่คล่องแคล้วและช้า  เช่น  การวิ่ง  การหยุด  การเดิน  การกระโดดขาเดียว  การกระโดดสองขา  การขึ้นลงบันได  เป็นต้น

เกณฑ์ประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจ
พัฒนาการ
ระดับคุณภาพ
4
3
2
1
การแสดงออกทางด้านอารมณ์
1.  สามารถอดทนรอคอยกับสิ่งต่างๆ ได้ดีมาก  เช่น  เข้าแถวรองาน  ฟังนิทานที่ครูเล่าได้จนจบเรื่อง  เป็นต้น
2.   สามารถแสดงออกถึงความรักที่มีต่อผู้ปกครอง  ครู  และเพื่อนได้อย่างไม่เขินอาย  เช่น  การยิ้ม  การสวัสดี  การทักทาย  การกอด  การสัมผัส  เป็นต้น
1.  สามารถอดทนรอคอยกับสิ่งต่างๆ ได้ดี  เช่น  เข้าแถวรองาน  ฟังนิทานที่ครูเล่าได้จนจบเรื่อง  เป็นต้น
2.   สามารถแสดงออกถึงความรักที่มีต่อผู้ปกครอง  ครู  และเพื่อนได้ดี  มีบ้างที่เขินอาย  เช่น  การยิ้ม  การสวัสดี  การทักทาย  การกอด  การสัมผัส  เป็นต้น
1.  สามารถอดทนรอคอยกับสิ่งต่างๆได้บ้างแต่ได้ไม่นาน   เช่น  เข้าแถวรองาน  ฟังนิทานที่ครูเล่าได้จนจบเรื่อง  เป็นต้น
2.   สามารถแสดงออกถึงความรักที่มีต่อผู้ปกครอง  ครู  และเพื่อนได้แต่ไม่บ่อยครั้งส่วนใหญ่จะเขินอาย  เช่น  การยิ้ม  การสวัสดี  การทักทาย  การกอด  การสัมผัส  เป็นต้น
1.  ไม่สามารถอดทนรอคอยกับสิ่งต่างๆได้   เช่น  เข้าแถวรองาน  ฟังนิทานที่ครูเล่าได้จนจบเรื่อง  เป็นต้น
2.   ไม่สามารถแสดงออกถึงความรักที่มีต่อผู้ปกครอง  ครู  และเพื่อนเพราะเขินอาย  เช่น  การยิ้ม  การสวัสดี  การทักทาย  การกอด  การสัมผัส  เป็นต้น
ความรู้สึกดีต่อตนเองและผู้อื่น
1.  สามารถแสดงออกถึงการชื่นชมผลงาน  หรือความสามารถของตนเองและผู้อื่นได้ดีมาก  เช่น  การปรบมือ  การกกล่าวคำชื่นชม  เป็นต้น
2.  มีความภาคภูมิใจกับผลงานที่ทำ  กล้านำเสนอให้ผู้อื่นได้รับรู้และชื่นชม
1.  สามารถแสดงออกถึงการชื่นชมผลงาน  หรือความสามารถของตนเองและผู้อื่นได้ดี  เช่น  การปรบมือ  การกล่าวคำชื่นชม  เป็นต้น
2.  มีความภาคภูมิใจกับผลงานที่ทำ  และส่วนมากจะกล้านำเสนอให้ผู้อื่นได้รับรู้และชื่นชม
1.  สามารถแสดงออกถึงการชื่นชมผลงาน  หรือความสามารถของตนเองและผู้อื่นบ้างในบางครั้ง  เช่น  การปรบมือ  การกล่าวคำชื่นชม  เป็นต้น
2.  มีความภาคภูมิใจกับผลงานที่ทำ  แต่ไม่กล้านำเสนอให้ผู้อื่นได้รับรู้และชื่นชม
1.  ไม่สามารถแสดงออกถึงการชื่นชมผลงาน  หรือความสามารถของตนเองและผู้อื่นได้  เช่น  การปรบมือ  การกล่าวคำชื่นชม  เป็นต้น
2. ไม่มีความภาคภูมิใจกับผลงานที่ทำ  ไม่กล้านำเสนอให้ผู้อื่นได้รับรู้และชื่นชม
ด้านการเคารพสิทธิ์ผู้อื่น
1.  สามารถบอกความรู้สึกของตัวเองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้ดีมาก  เช่น  เมื่อมีคนมาทำให้เจ็บ  มาแซงคิว  หรือทำในสิ่งที่เราไม่ชอบ  กล้าบอกความรู้สึกออกไปว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”
2.  สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นได้ดีมาก  เช่น  เมื่อทำสิ่งนี้เราไม่ชอบคนอื่นก็คงไม่ชอบเช่นกัน  เมื่อเพื่อนบอกว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”  สามารถหยุดพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นอีก
1.  สามารถบอกความรู้สึกของตัวเองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้ดี  เช่น  เมื่อมีคนมาทำให้เจ็บ  มาแซงคิว  หรือทำในสิ่งที่เราไม่ชอบ  กล้าบอกความรู้สึกออกไปว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”
2.  สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นได้ดี เช่น  เมื่อทำสิ่งนี้เราไม่ชอบคนอื่นก็คงไม่ชอบเช่นกัน  เมื่อเพื่อนบอกว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”  สามารถหยุดพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นอีก
1.  สามารถบอกความรู้สึกของตัวเองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้บ้างบางครั้ง  เช่น  เมื่อมีคนมาทำให้เจ็บ  มาแซงคิว  หรือทำในสิ่งที่เราไม่ชอบ  กล้าบอกความรู้สึกออกไปว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”
2.  สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นได้บ้างในบางครั้งแต่ก็ต้องคอยเตือน   เช่น  เมื่อทำสิ่งนี้เราไม่ชอบคนอื่นก็คงไม่ชอบเช่นกัน  เมื่อเพื่อนบอกว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”  สามารถหยุดพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นอีก
1.  สามารถบอกความรู้สึกของตัวเองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้น้อยมาก จะรอให้ถามจึงจะบอก  เช่น  เมื่อมีคนมาทำให้เจ็บ  มาแซงคิว  หรือทำในสิ่งที่เราไม่ชอบ  กล้าบอกความรู้สึกออกไปว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”
2.ไม่สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นได้  แม้เพื่อนจะบอกซ้ำแล้วก็ตาม   เช่น  เมื่อทำสิ่งนี้เราไม่ชอบคนอื่นก็คงไม่ชอบเช่นกัน  เมื่อเพื่อนบอกว่า  “อย่าทำเราไม่ชอบ”  สามารถหยุดพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นอีก

   
เกณฑ์ประเมินพัฒนาการด้านสังคม
พัฒนาการ
ระดับคุณภาพ
4
3
2
1
การช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองทั้งหมด   เช่น  การเลือกเครื่องแต่งกาย  การแต่งกาย  การรับประทานอาหาร  การเข้าห้องน้ำ ทำความสะอาดร่างกาย  เป็นต้น
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองได้แต่ไม่ทั้งหมด  ยังต้องมีคนคอยช่วยเหลือบางอย่าง   เช่น  การเลือกเครื่องแต่งกาย  การแต่งกาย   การรับประทานอาหาร  การเข้าห้องน้ำทำความสะอาดร่างกาย  เป็นต้น
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองบ้างเล็กน้อย  ส่วนใหญ่ต้องมีคนคอยช่วย  คอนแนะนำคอยเตือน    เช่น  การเลือกเครื่องแต่งกาย  การแต่งกาย  การรับประทานอาหาร  การเข้าห้องน้ำทำความสะอาดร่างกาย  เป็นต้น
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองต้องมีคนคอยช่วย  คอยเตือน  คอยแนะนำตลอดเวลา   เช่น  การเตรียมเครื่องแต่งกาย  การแต่งกาย   การรับประทานอาหาร  การเข้าห้องน้ำทำความสะอาดร่างกาย  เป็นต้น
การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น  การรู้บทบาทและหน้าที่
1.  สามารถเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนในกลุ่มหรือในห้องได้ดีมาก
2.  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายดีมาก  ตรงต่อเวลา
3.  สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของห้องหรือของโรงเรียนได้
4.  มีความเสียสละ  รู้จักการเป็นผู้ให้และการเป็นผู้รับ
1.  สามารถเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนในกลุ่มหรือในห้องได้ดี
2.  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายดี  ตรงต่อเวลา
3.  สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของห้องหรือของโรงเรียนได้เป็นส่วนใหญ่
4.  มีความเสียสละ  รู้จักการเป็นผู้ให้และการเป็นผู้รับ
1.  สามารถเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนในกลุ่มหรือในห้องได้บ้าง
2.  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายดี   แต่ไม่ค่อยตรงต่อเวลา
3.  สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของห้องหรือของโรงเรียนบ้าง
4.  มีความเสียสละ  รู้จักการเป็นผู้ให้และการเป็นผู้รับ
1.  ไม่สามารถเล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนในกลุ่มหรือในห้องได้เท่าที่ควร
2.  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายน้อย  ไม่ตรงต่อเวลา
3.  สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของห้องหรือของโรงเรียนน้อยมาก
4.  ไม่ค่อยมีความเสียสละ
การอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
1.  สามารถแสดงออกถึงการเคารพต่อตัวเองและผู้อื่นได้ดีมาก  เช่น  การไหว้สวัสดีทุกครั้งที่เจอกันครั้งแรก (พร้อมเอ่ยชื่อถ้ารู้จัก)  ไหว้ขอบคุณทันทีที่มีคนให้สิ่งของไม่วิจารณ์สิ่งของนั้น  ไหว้ขอบคุณทุกครั้งที่มีการรับ-ส่งงาน
2.  ทิ้งขยะลงถังขยะทุกครั้งโดยที่ไม่ต้องคอยเตือน  รวมทั้งยังช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
1.  สามารถแสดงออกถึงการเคารพต่อตัวเองและผู้อื่นได้ดี  เช่น  การไหว้สวัสดีทุกครั้งที่เจอกันครั้งแรก (พร้อมเอ่ยชื่อถ้ารู้จัก)  ไหว้ขอบคุณทันทีที่มีคนให้สิ่งของไม่วิจารณ์สิ่งของนั้น  ไหว้ขอบคุณทุกครั้งที่มีการรับ-ส่งงาน
2.  ทิ้งขยะลงถังขยะทุกครั้งโดยที่ได้เตือนบ้างในบางครั้ง  รวมทั้งยังช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนได้
1.  สามารถแสดงออกถึงการเคารพต่อตัวเองและผู้อื่นได้บ้าง  แต่ต้องคอยเตือน  เช่น  การไหว้สวัสดีทุกครั้งที่เจอกันครั้งแรก (พร้อมเอ่ยชื่อถ้ารู้จัก)  ไหว้ขอบคุณทันทีที่มีคนให้สิ่งของไม่วิจารณ์สิ่งของนั้น  ไหว้ขอบคุณทุกครั้งที่มีการรับ-ส่งงาน
2.  ทิ้งขยะลงถังขยะทุกครั้งโดยที่ส่วนใหญ่ต้องมีคนคอยเตือน  รวมทั้งยังช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
1.  ไม่สามารถแสดงออกถึงการเคารพต่อตัวเองและผู้อื่นได้ด้วยตัวเอง  ต้องมีคนคอยเตือน  เช่น  การไหว้สวัสดีทุกครั้งที่เจอกันครั้งแรก (พร้อมเอ่ยชื่อถ้ารู้จัก)  ไหว้ขอบคุณทันทีที่มีคนให้สิ่งของไม่วิจารณ์สิ่งของนั้น  ไหว้ขอบคุณทุกครั้งที่มีการรับ-ส่งงาน
2.  ทิ้งขยะลงถังขยะทุกครั้งต้องมีคนคอยเตือน


เกณฑ์ประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา
พัฒนาการ
ระดับคุณภาพ
4
3
2
1
การฟังการพูด การอ่าน การเขียน
1. สามารถฟังแล้วจับใจความและนำมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นฟังได้ดีมาก
2. สามารถฟังและปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง  เช่น  การเคลื่อนไหวท่าทาง
3.สามารถบอกชื่อ – สกุล  ชื่อเล่น  และที่อยู่ของตนเองได้
4. สามารถบอกสัญลักษณ์ พยัญชนะ และตัวอักษรในชื่อของตนเองได้ถูกต้อง
5. สามารถเขียนตามแบบได้  เช่น  ชื่อ – สกุลของตัวเอง
1. สามารถฟังแล้วจับใจความและนำมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นฟังได้ดี
2. สามารถฟังและปฏิบัติตามได้ดี  เช่น  การเคลื่อนไหวท่าทาง
3. สามารถบอกชื่อ – สกุล  ชื่อเล่น  และที่อยู่ได้แต่ไม่ครบ
4. สามารถบอกสัญลักษณ์ พยัญชนะ และตัวอักษรในชื่อของตนเองได้แต่ช้า
5 .สามารถเขียนตามแบบได้แต่อาจจะไม่ครบทุกตัว  เช่น  ชื่อ – สกุล
1. สามารถฟังแล้วจับใจความได้เล็กน้อยและนำมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นฟังได้บางส่วน
2. สามารถฟังและปฏิบัติตามได้บ้าง เช่น  การเคลื่อนไหวท่าทาง
3. สามารถบอกชื่อ – สกุล  ชื่อเล่น  แต่บอกที่อยู่ไม่ได้
4. สามารถบอกสัญลักษณ์ พยัญชนะ และตัวอักษรในชื่อของตนเองได้บ้างแต่ครูต้องคอยกระตุ้น
5.สามารถเขียนตามแบบได้แต่อาจจะไม่ครบทุกตัวและมีการเขียนกลับหัว  เช่น  ชื่อ – สกุล
1. สามารถฟังแล้วจับใจความได้เล็กน้อยแต่ไม่สามารถนำมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นฟังได้
2. ไม่สามารถฟังและปฏิบัติตามได้  เช่น  การเคลื่อนไหวท่าทาง
3. สามารถบอกชื่อเล่น  แต่ไม่สามารถบอกชื่อ – สกุล  และที่อยู่ได้
4. สามารถบอกสัญลักษณ์ พยัญชนะ และตัวอักษรในชื่อของตนเองได้แต่ไม่ครบทุกตัว
5.สามารถเขียนตามแบบได้แต่กลับหัวและไม่ครบ
การดำเนินการ
1. สามารถจำแนกสิ่งต่างๆ พร้อมให้เหตุผลประกอบได้  เช่น  การจำแนกสี  การจำแนกสิ่งของ  เป็นต้น
2. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  ในการบอกสิ่งต่างๆ ได้จากการดู  การฟังเสียง  การดมกลิ่น  การชิมรสและการสัมผัส
ได้เป็นอย่างดี
3. สามารถสื่อความคิดสร้างสรรค์ของตนเองออกมาเป็นภาพได้อย่างชัดเจนครบองค์ประกอบ
1. สามารถจำแนกสิ่งต่างๆ พร้อมให้เหตุผลประกอบได้บ้างบางครั้ง  เช่น  การจำแนกสี  การจำแนกสิ่งของ  เป็นต้น
2. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  ในการบอกสิ่งต่างๆ ได้จากการดู  การฟังเสียง  การดมกลิ่น  การชิมรส  และการสัมผัสได้เป็นส่วนใหญ่
3. สามารถสื่อความคิดสร้างสรรค์ของตนเองออกมาเป็นภาพได้แต่องค์ประกอบไม่ครบ
1. สามารถจำแนกสิ่งต่างๆ ได้  แต่ไม่สามารถให้เหตุผลได้
2. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  ในการบอกสิ่งต่างๆ ได้จากการดู  การฟังเสียง  การดมกลิ่น  การชิมรส  และการสัมผัสได้ในบางครั้ง
3. สามารถสื่อความคิดสร้างสรรค์ของตนเองออกมาเป็นภาพได้บางส่วนองค์ประกอบขาดหายไปเยอะ
1. ไม่สามารถจำแนกสิ่งต่างๆ ที่เป็นหมวดหมู่ได้  และไม่สามารถให้เหตุผลของการจำแนกได้
2. สามารถใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  ในการบอกสิ่งต่างๆ ได้จากการดู  การฟังเสียง  การดมกลิ่น  การชิมรส  และการสัมผัสได้ค่อนข้างน้อยมาก
3. สามารถสื่อความคิดสร้างสรรค์ของตนเองออกมาเป็นภาพไม่ได้


ผลการประเมินนักเรียนชั้น…………………………... ประจำ Quarter ………... ภาคเรียนที่ …... ปีการศึกษา ………….
สัปดาห์ที่  …………... เรื่อง ……………..  ชิ้นงาน   ………………………………….
ที่
ชื่อ - สกุล
ผลการประเมิน
ด้านร่างกาย
ด้านอารมณ์ - จิตใจ
ด้านสังคม
สติปัญญา
สรุป
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
การแสดงออกด้านอารมณ์
ความรู้สึกดีต่อตนเองและผู้อื่น
การเคารพสิทธิ์ผู้อื่น
การช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน
การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การรู้บทบาทหน้าที่
การอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
ฟัง พูด อ่าน เขียน
การดำเนินการ
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)
.(1-4)




















































































































































































หมายเหตุ  เกณฑ์การประเมิน 1 หมายถึง ควรส่งเสริม, 2 หมายถึง พอใช้, 3 หมายถึง ดี, 4 หมายถึง ดีเยี่ยม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น